บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก กุมภาพันธ์, 2022

QR CODE Metaverse ของจิตาภา อาทะวงค์

รูปภาพ
Jitapa's World  

QR CODE ห้องเรียน MS Team

รูปภาพ
 

vlogger จัดบรรยากาศในการเรียน On Site ของจิตาภา อาทะวงค์

รูปภาพ
  บรรยากาศการจัดห้องเรียน On Site โรงเรียนบ้านนายเหรียญ

QR CODE ของจิตาภา อาทะวงค์

รูปภาพ
 

บทความต่างประเทศฐาน ERIC

 เรื่องที่ 1 The Need for Cross-Cultural Exploration of Teacher Leadership Abstract: This article describes the need for additional cross-cultural study of teacher leadership. A rationale for researching teacher leadership is presented based on the need to provide clarity to the definition of the concept and to understand better how to facilitate teacher leadership development. A primary research question is shared: “How is teacher leadership conceptualized and enacted and what are the implications for educational stakeholders?” A set of attributes and indicators of teacher leadership is provided based on a review of literature focusing on teacher leadership. Then four additional concepts related to teacher leadership are described—formal and informal influence, school culture, school improvement, and professional development—followed by a summary of cautionary considerations. Finally, a multi-stage research design is presented in support of the International Study of Teacher Leadershi

Describing and measuring leadership within school teams by applying a social network perspective

a b s t r a c t Despite the growing number of studies that acknowledge a crucial role of distributed leadership within schools, limited knowledge exists on how to describe and measure this multi-faceted concept. In a social network study with 130 respondents, from 14 Dutch school teams carrying out collaborative innovation, we theoretically de [1] scribe three core aspects of the social interaction process of distributed leadership: collective, dynamic, or relational. Furthermore, we empirically explore how to measure all these three aspects of distributed leadership from a social network perspective, whereas most research focuses on either collective or dynamic. Our findings indicate that three network measures (density, reciprocity, indegree centralization) form a coherent combination to measure distributed leadership in school teams in terms of collective, relational, and dynamic, respectively. Furthermore, based on the combination of measures we found differences in distributed l

WORK 4

 มนตรี แก้วเชิด และอโนทัย ประสาน. (2563). บทบาทของผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 ต่อการส่งเสริมความร่วมมือของครูสังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 12 . วารสารนาคบุตรปริทรรศน์. ปีที่ 13 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 2564, หน้า 202-210 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1. เพื่อศึกษาบทบาทของผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 สังกัดสeนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 12 2. เพื่อศึกษาการส่งเสริมความร่วมมือของครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 12 และ 3. เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างบทบาทของผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 ต่อการส่งเสริมความร่วมมือของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 12 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือผู้บริหารสถานศึกษา และครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 12จำนวน 357 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน จากผลการวิจัยพบว่าบทบาทของผู้บริหารสถานศ

สภาพและปัญหาการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน ของผู้บริหารโรงเรียนสังกัดเทศบาลเมืองนครพนม

นครินทร์ เหลือบุญชู รศ.อนันต์ ปานศุภวัชร และ ศิริดา บุรชาติ. (2554). สภาพและปัญหาการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน ของผู้บริหารโรงเรียนสังกัดเทศบาลเมืองนครพนม . วารสารมหาวิทยาลัยนครพนม. ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2554, หน้า 70-76 บทคัดย่อ                การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพและปัญหาการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน  ของผู้บริหารโรงเรียน  สังกัดเทศบาลเมืองนครพนม เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นต่อสภาพและปัญหาการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานของผู้บริหารครูและคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน และเพื่อเสนอแนวทางการพัฒนาการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานของผู้บริหารโรงเรียนสังกัดเทศบาลเมืองนครพนม  ประชากรในการวิจัยครั้งนี้  ประกอบด้วยผู้บริหาร  25  คน  ครู  163  คน  และคณะกรรมการ สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน จํานวน 78 คน รวมประชากร 266 คน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย จํานวน 164 คน ได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน ประกอบด้วยผู้บริหาร 25 คน ครู 83 คน และคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน จํานวน 56 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามชนิดมาตราส่วนประมาณค่า  มีค่าความเชื่อมั่

กระบวนการจัดระบบสารสนเทศ เพื่อการประกันคุณภาพการศึกษาด้านการบริหารงานวิชาการ ของโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา จังหวัดสมุทรปราการ

กระบวนการจัดระบบสารสนเทศ เพื่อการประกันคุณภาพการศึกษาด้านการบริหารงานวิชาการ ของโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา จังหวัดสมุทรปราการ

การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานของโรงเรียนเอกชนอาชีวศึกษาเขตกรุงเทพมหานคร

  ชื่อวิทยานิพนธ์ การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานของโรงเรียนเอกชนอาชีวศึกษาเขตกรุงเทพมหานคร School-Based Management of Private Vocational Schools, Bangkok Metropolis ชื่อนิสิต เยาวรัตน์ บุญปลอด Yaowarat Boonplod ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา ผศ. วินิจ เกตุขำ, Ph.D. Asst.Prof. Vinich Getkham, Ph.D. ชื่อสถาบัน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. บัณฑิตวิทยาลัย Kasetsart University. Bangkok (Thailand). Graduate School. ระดับปริญญาและรายละเอียดสาขาวิชา วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต. ศึกษาศาสตร์ (การบริหารการศึกษา) Master. Education (Educational Administration) ปีที่จบการศึกษา 2546 บทคัดย่อ(ไทย) วัตถุประสงค์ของการวิจัยครั้งนี้คือ 1) เพื่อศึกษาสภาพการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานและ 2) เพื่อศึกษาปัญหาการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานของโรงเรียนเอกชนอาชีวศึกษาเขตกรุงเทพมหานคร ประชากรคือ ครูใหญ่หรืออาจารย์ใหญ่และครูในโรงเรียนเอกชนอาชีวศึกษาเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 357 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม ส่งแบบสอบถามไปและได้กลับคืนมา 292 ฉบับ คิดเป็นร้อยละ 82.00 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบ

ประสิทธิภาพการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานครปฐม เขต 1

  Title ประสิทธิภาพการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานครปฐม เขต 1 Title Alternative The efficiency of school-based management of basic education institutions under the jurisdiction of the officeof nakhon pathom education area 1 Creator Name:   สมศักดิ์ รอบคอบ Organization :  โรงเรียนวัดท่าเสา Subject ThaSH:   การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน Classification :.DDC:   371.2 ThaSH:   โรงเรียน  --  การบริหาร Description Abstract:  การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาประสิทธิภาพการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานครปฐม เขต 1 2) เปรียบเทียบประสิทธิภาพการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานตามขนาดและที่ตั้งของสถานศึกษาของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานครปฐม เขต 1 และ 3) ศึกษาแนวทางการพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานที่เหมาะสมกับบริบทของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานครปฐม เขต 1 กลุ่มตัวอย่างเป็นสถานศึกษาขั้นพื้นฐานจำนวน 108 แห่ง เครื่อ

การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานกับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการครู

  Title การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานกับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการครู Title Alternative SCHOOL-BASED MANAGEMENT AND TEACHER’ JOB SATISFACTION IN BASIC EDUCATION SCHOOLS UNDER KANCHANABURI Creator Name:   นเรศ จงอารี Subject keyword:  โรงเรียน   การบริหาร ;   ข้าราชการครู ;   โรงเรีบน Description Abstract:  ในการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานกับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการครู และความสัมพันธ์ระหว่างสภาพการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานกับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการครูในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษากาญจนบุรี กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นข้าราชการครูในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ช่วงชั้นที่ 1-2 จานวน 356 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า กาหนดคาตอบเป็น 5 ระดับ ซึ่งมีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.98 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรม SPSS fo